เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้ำค่าพระธาตุดอยตุง
หน้า
แรก
|
ข้อมูล
โรงแรม-ที่พัก
|
ข้อมูล
แหล่ง
ท่องเที่ยว
|
ข้อมูล
บริษัททัวร์-รถเช่า
|
ข้อมูล
ร้านอาหาร กิน-ดื่ม
|
ศูนย์กลางธุรกิจ
เชียงราย
|
ติดต่อ
ทีมงาน
750 ปี เมืองเชียงราย
|
ข่าวสารเชียงรายวันนี้
|
ตำแหน่งงานว่าง
|
ปฏิทินท่องเที่ยว
|
อัลบั้มภาพ
|
ข้อมูลเชียงราย
|
แผนที่เชียงราย
|
สินค้า OTOP
|
เว็บบล็อก
|
กาดเจียงฮายรำลึก
|
เว็บบอร์ด
ฝากประกาศข่าว
|
ฝากประกาศงาน
ฟรี!
|
เฟสบุ๊กเพจ:เชียงรายโฟกัส
โฟกัส
ที่เที่ยว : แหล่งท่องเที่ยว จ.เชียงราย
Chiang Rai Attractions ..
[Eco-tourism, Agro-tourism, Conservation tourism, Historical tourism, Cultural tourism, Helath tourism]
หน้าหลัก
อ. เมือง
อ. เชียงของ
อ. เชียงแสน
อ. เวียงแก่น
อ. เวียงชัย
อ. เวียงป่าเป้า
อ. เวียงเชียงรุ้ง
อ. เทิง
อ. แม่จัน
อ. แม่ฟ้าหลวง
อ. แม่สาย
อ. แม่สรวย
อ. แม่ลาว
อ. พาน
อ. พญาเม็งราย
อ. ดอยหลวง
อ. ป่าแดด
อ. ขุนตาล
ค้นหาแหล่งท่องเที่ยว :
เลือกอำเภอ
ทุกอำเภอ
เมือง
เชียงของ
เชียงแสน
เวียงแก่น
เวียงชัย
เวียงป่าเป้า
เวียงเชียงรุ้ง
เทิง
แม่จัน
แม่ฟ้าหลวง
แม่สาย
แม่สรวย
แม่ลาว
พาน
พญาเม็งราย
ดอยหลวง
ป่าแดด
ขุนตาล
< ย้อนกลับ
| แหล่งท่องเที่ยวอื่นๆในอำเภอ เมือง
--- เลือก ---
วัดพระสิงห์
วัดร่องขุ่น
วัดพระแก้ว
วัดพระธาตุจอมทอง / วัดพระธาตุดอยจอมทอง
วัดพระธาตุจอมสัก
วัดพระธาตุดอยเขาควาย
วัดกลางเวียง
โบราณสถานถ้ำพระ
วัดงำเมือง
น้ำตกห้วยแม่ซ้าย
น้ำตกขุนกรณ์
น้ำตกโป่งพระบาท
หาดเชียงราย (พัทยาน้อย)
บ่อน้ำร้อนห้วยหมากเลี่ยม
บ่อน้ำร้อนผาเสริฐ
น้ำพุร้อนโป่งพระบาท
พิพิธภัณฑ์อูบคำ
พิพิธภัณฑ์รอยพระบาท รัชกาลที่ 9
สวนสาธารณะเกาะลอย
สวนตุงและโคมเฉลิมพระเกียรติ
สวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ฯ เชียงราย
อุทยานแห่งชาติลำน้ำกก(บ่อน้ำร้อนห้วยหมากเลี่ยม)
รวมหมู่บ้านชาวเขา และหมู่บ้านกะเหรี่ยงคอยาว จ.เชียงราย
มูเซอดอยปูไข่
ขี่ช้างเที่ยว..บ้านกะเหรี่ยงรวมมิตร..
ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมชนเผ่า บ้านจะแล
สถานีเกษตรที่สูงตามแนวพระราชดำริ บ้านปางขอน
สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ ดอยบ่อ
ไร่แม่ฟ้าหลวง (อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้าหลวง)
ดอยดัง..นางแล
พุทธอุทยานธุดงวัดพระธาตุดอยอินทรีย์
กำแพงเมืองจีนจำลอง
ล่องเรือแม่น้ำกก (ท่าตอน-เชียงราย)
สวนป่าแม่ยาว-แม่ซ้าย
อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช
วนอุทยานดอยกาดผี
วนอุทยานน้ำตกตาดสวรรค์
น้ำตกห้วยแก้ว
บูเมอแลง (Boomerang Rock Climbing and Adventure Park)
บ้านจอมพล ป.พิบูลสงคราม ศูนย์การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์
บ้านหาดยาว
จุดชมวิวดอยบ่อ
วนาฟาร์มม้าและนกกระจอกเทศ
วัดร่องขุ่น
ข้อมูลติดต่อ
โทรศัพท์ 053-673579
สำนักงาน ททท. ภาคเหนือเขต 2 โทรศัพท์ 053-717433
เว็บไซต์ http://www.chiangraifocus.com/guidebook/watrongkhun/
พิกัด GPRS : 19.824285,99.763799
แผนที่ขนาดใหญ่
++
แสดงพิกัดตำแหน่งที่ตั้ง :
19.824285,99.763799
สามารถคลิกหมุน scall ที่เม้าส์เพื่อซูมแผนที่
ออกแบบและสร้างโดยอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน ์ ศิลปินที่มีชื่อเสียงของไทย สร้างขึ้นด้วยแรงปณิธานที่มุ่งมั่น รังสรรค์งานศิลปะที่งดงามแปลก ตาผสานวัฒนะธรรมล้านนาอย่างกลมกลืน ทั้งลวดลายปูนปั้นประดับกระจกและจิตรกรรรมฝาผนังขนาดใหญ่ ลักษณะเด่นของ วัดคือ พระอุโบสถถูกแต่งด้วยลวดลายกระจกสีเงินแวววาวเป็นเชิงชั้นลดหลั่นกันไป หน้าบันประดับด้วยพญานา คมีงวงงาดูแปลกตาน่าสนใจมาก ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระอุโบสถเป็นฝีมือภาพเขียนของ อาจารย์เอง
วัดร่องขุ่น
เป็นวัดที่มีความสวยงามโดดเด่นต่างจากวัดอื่นๆ ด้วยฝีมือการออกแบบ และก่อสร้างของ
อ. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์
ศิลปินชื่อดัง เพื่อเป็นวัดประจำบ้านเกิด สร้างโดยจินตนาการของอาจารย์ จัดเป็นงานพุทธศิลป์ที่ยิ่งใหญ่ และงดงามน่าแวะชมมากแห่งหนึ่ง
อ. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ มีแรงบันดาลใจในการสร้างวัดแห่งนี้อยู่ 3 ประการ คือ เพื่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ซึ่งอาจารย์บอกว่า
จึงตั้งความปรารถนาที่จะถวายชีวิต ใช้ช่วงเวลาที่ดีที่สุดของตนเอง สร้างงานพุทธศิลป์ เพื่อเป็นงานประจำรัชกาลของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ได้ และจะถวายชีวิตไปจนตายคาวัด" (จากเอกสารของวัดร่องขุ่น) ความงดงามของวัดแห่งนี้อยู่ที่ "
โบสถ์
" เพราะอาจารย์อยากจะเนรมิตวัดให้เหมือนเมืองสวรรค์ เป็นวิมานบนดินที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ โบสถ์ เปรียบเหมือนบ้านของพระพุทธเจ้า สีขาว แทนพระบริสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า กระจกขาว หมายถึง พระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้าที่เปล่งประกายไปทั่วโลกมนุษย์ และจักรวาล
สะพาน
หมายถึง การเดินข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่พุทธภูมิ ก่อนขึ้นสะพานครึ่งวงกลมเล็ก หมายถึง โลกมนุษย์ วงใหญ่ที่มีเขี้ยวเป็นปากของพญามารหรือพระราหู หมายถึง กิเลสในใจแทนขุมนรกคือทุกข์ ผู้ที่จะเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าในพุทธภูมิต้องตั้งจิตปลดปล่อยกิเลสตัณหาของตนเองลงไปในปากพญามาร เพื่อเป็นการชำระจิตให้ผ่องใสก่อนที่จะเดินผ่านขึ้นไปพบกับพระราหูอยู่เบื้องซ้าย และพญามัจจุราชอยู่เบื้องขวา บนสันของสะพานจะประกอบไปด้วยอสูรกลืนกัน 16 ตน ข้างละ 8 ตน หมายถึง อุปกิเลส 16 จากนั้นก็จะถึงกึ่งกลางสะพานหมายถึง เขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของเทวดา ด้านล่างเป็นสระน้ำหมายถึง สีทันดรมหาสมุทร มีสวรรค์ตั้งอยู่ด้วยกัน 6 ชั้นด้วยกัน ผ่านสวรรค์ 6 เดินลงไปสู่พรหม 16 ชั้น แทนด้วยดอกบัวทิพย์ 16 ดอกรอบพระอุโบสถ ดอกที่ใหญ่สุด 4 ดอก ตรงทางขึ้นด้านข้างโบสถ์หมายถึง ซุ้มพระอริยเจ้า 4 พระองค์ ประกอบด้วยพระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต์ เป็นสงฆ์สาวกที่ควรกราบไหว้บูชา
ก่อนขึ้นบันได ครึ่งวงกลมหมายถึง โลกุตตรปัญญา บันไดทางขึ้น 3 ขั้นแทน อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ผ่านแล้วจึ้งขึ้นไปสู่อรูปพรหม 4 แทนด้วยดอกบัวทิพย์ 4 ดอกและบานประตู 4 บาน บานสุดท้ายเป็นกระจกสามเหลี่ยมแทนความว่าง ซึ่งหมายถึงความหลุดพ้น แล้วจึงก้าวข้ามธรณีประตูเข้าสู่พุทธภูมิ
ภายในประกอบด้วยภาพเขียนโทนสีทองทั้งหมด ผนัง 4 ด้าน เพดานและพื้นล้วนเป็นภาพเขียนที่แสดงถึงการหลุดพ้นจากกิเลสมาร มุ่งเข้าสู่โลกุตตรธรรม ส่วนบนของหลังคาโบสถ์ ได้นำหลักการของการปฏิบัติจิต 3 ข้อ คือ ศีล สมาธิ ปัญญา นำไปสู่ความว่างคือความหลุดพ้นนั่นเอง
นี่เป็นเพียงรายละเอียดคร่าวๆ ของโบสถ์ของวัดร่องขุ่น ส่วนรายละเอียดจริงๆ นั้น อาจารย์บอกว่าจะสร้างทั้งหมด 9 หลัง แต่ละหลังมีความหมายเป็นคติธรรมทุกหลัง ผมหวังจะสร้างงานพุทธศิลป์ของแผ่นดินให้ยิ่งใหญ่อลังการ เพื่อให้คนทั้งโลกยอมรับ และปรารถนาจะมาชื่นชมให้ได้ จะถวายชีวิตสร้างจนลมหายใจสุดท้าย และได้สร้างลูกศิษย์รอรับช่วงต่ออีก 2 รุ่น หลังผมตาย คาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ทั้ง 9 หลัง คงใช้เวลาทั้งหมด 60-70 ปีครับ"
นอกจากจะชมความงดงามของพระอุโบสถแล้ว ยังสามารถเข้าชมผลงานของอาจารย์ และเลือกซื้อของที่ระลึกจากวัดร่องขุ่นได้อีกด้วย
ข้อมูลเพิ่มเติม :
http://www.chiangraifocus.com/guidebook/watrongkhun/
เปิดดู
17483
ครั้ง
แจ้งแก้ไขข้อมูล หรือเพิ่มเติมข้อมูล ส่งเมล์มาที่
ทีมงานเช็คอีเมล์ทุกวัน
เกี่ยวกับเรา
เกี่ยวกับเชียงรายโฟกัส
กิจกรรมของเว็บ
เงื่อนไขการให้บริการ
ติดต่อทีมงาน
ช่วยเหลือ
แจ้งปัญหาการใช้งาน/อัพเดทข้อมูล
คำถามที่พบบ่อย
คำแนะนำการใช้งานเว็บไซต์
รวมทุกหัวข้อบนเว็บไซต์ (Site Map)
ข้อมูลเพิ่มเติม
สถิติ โดยรวมของเว็บ
เว็บไซต์
V.2010
,
V.2012
,
V.2018
,
V.2020
ติดต่อโฆษณา
สงวนลิขสิทธิ์ © 2007-2021
https://www.chiangraifocus.com