เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้ำค่าพระธาตุดอยตุง
 

  โฟกัสที่เที่ยว : แหล่งท่องเที่ยว จ.เชียงราย
   Chiang Rai Attractions .. [Eco-tourism, Agro-tourism, Conservation tourism, Historical tourism, Cultural tourism, Helath tourism]
คลิปท่องเที่ยวเชียงราย
อัลบั้มภาพท่องเที่ยว
ข้อมูลผ่านแดนไปประเทศเื่พื่อนบ้าน
อ. เมือง    อ. เชียงของ    อ. เชียงแสน    อ. เวียงแก่น    อ. เวียงชัย    อ. เวียงป่าเป้า    อ. เวียงเชียงรุ้ง    อ. เทิง    อ. แม่จัน    อ. แม่ฟ้าหลวง    อ. แม่สาย    อ. แม่สรวย    อ. แม่ลาว    อ. พาน    อ. พญาเม็งราย    อ. ดอยหลวง    อ. ป่าแดด    อ. ขุนตาล   
ค้นหาแหล่งท่องเที่ยว :  
เลือกอำเภอ
 
< ย้อนกลับ | แหล่งท่องเที่ยวอื่นๆในอำเภอ เมือง
   วัดพระธาตุดอยเขาควาย
ข้อมูลติดต่อ
วัดพระธาตุดอยเขาควาย ดอยเขาควาย ซอยหนองปึ๋ง 1 อ.เมือง จ.เชียงราย

พิกัด GPRS : 19.886213,99.810716 แผนที่ขนาดใหญ่
++ แสดงพิกัดตำแหน่งที่ตั้ง : 19.886213,99.810716 สามารถคลิกหมุน scall ที่เม้าส์เพื่อซูมแผนที่
ตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช   เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา   โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา

ตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช   เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา   โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ   ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช   ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชาตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ   ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ   ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชาตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา   ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบ  ไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชา 


วัดพระธาตุดอยเขาควาย
 


ตั้งอยู่ บนดอยเขาควาย ซอยหนองปึ๋ง 1ห่างจากตัวเมืองเชียงรายไปตามถนนราชโยธา ประมาณ 3 กิโลเมตร จากนั้นให้เลี้ยวซ้ายเข้าซอยหนองปึ๋ง 1 ขึ้นดอยไปอีกประมาณ 2 กิโลเมตร รถขนาดใหญ่ไม่สามารถขึ้นได้

สิ่งที่น่าสนใจ พระธาตุดอยเขาควายแก้วเป็นที่ประดิษฐานองค์พระบรมสารีริกธาตุและเป็นจุดชมวิวเมืองเชียงรายที่มีความสวยงามและใกล้ตัวเมืองมากที่สุด

ประวัติพระธาตุดอยเขาควาย ตามตำนานพื้นบ้าน เล่าว่า ประมาณ 1,000 กว่าปีล่วงมา ได้มีพระยาธรรมมิกะราช เจ้าผู้ครองเมืองเชียงรายสมัยนั้น เป็นผู้ก่อสร้างวัดพระธาตุดอยเขาควาย ขึ้นมา โดยได้นำพระบรมสารีริกธาตุ อันเป็นข้อมือนิ้วก้อยข้างซ้ายของพระพุทธเจ้าที่คณะสงฆ์เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในดินแดนล้านนา ได้นำมาถวายให้พระยาธรรมมิกะราช จึงให้อันเชิญพระบรมสารีริกธาตุ ใส่บรรจุไว้ในองค์เจดีย์ เพื่อให้ พุทธศาสนิกชนทั่วไปได้กราบไว้บูชา ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในสมัยเชียงแสน และสมัยพ่อขุนเม็งรายมหาราช ปัจจุบันในทุกๆปีจะมีประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในวันเพ็ญเดือนแปดเป็ง ซึ่งตรงกับวันเพ็ญ วิสาขบูชา

เปิดดู 8094 ครั้ง
แจ้งแก้ไขข้อมูล หรือเพิ่มเติมข้อมูล ส่งเมล์มาที่ ทีมงานเช็คอีเมล์ทุกวัน
 

เกี่ยวกับเรา
เกี่ยวกับเชียงรายโฟกัส
กิจกรรมของเว็บ
เงื่อนไขการให้บริการ
ติดต่อทีมงาน
ช่วยเหลือ
แจ้งปัญหาการใช้งาน/อัพเดทข้อมูล
คำถามที่พบบ่อย
คำแนะนำการใช้งานเว็บไซต์
รวมทุกหัวข้อบนเว็บไซต์ (Site Map)
ข้อมูลเพิ่มเติม
สถิติ โดยรวมของเว็บ
 
เว็บไซต์ V.2010 , V.2012 , V.2018 , V.2020
ติดต่อโฆษณา


สงวนลิขสิทธิ์ © 2007-2021 https://www.chiangraifocus.com