คำขวัญประจำอำเภอ |
"
พระธาตุจอมจ้อคู่บ้าน น้ำลาว หงาว อิง คู่เมือง ภูชีฟ้าลือเลื่อง
งามประเทืองดอกเสี้ยวบาน |
|
|
ประวัติความเป็นมา |
อ.เทิง มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เริ่มมีการกล่าวถึง
ตั้งแต่สมัยขุนเจื๋องราชโอรสขุนจอมธรรม ผู้ปกครองเมืองภูกามยาว(จังหวัดพะเยาในปัจจุบัน)
ประมาณจุลศักราช 482(พ.ศ.1163) เป็นหัวเมืองที่สำคัญของเมืองภูกามยาวนคร
ต่อมาการปกครองได้แตกสาขาแยกเมืองออกมาปกครองมากขึ้นเมืองเทิงจัดอยู่ในเขตปกครองของบริเวณนครน่าน
ตาม พ.ร.บ.ปกครองท้องที่ ร.ศ.(พ.ศ.2438) เรียกว่า "กิ่งแขวงเมืองเทิง"
จัดแบ่งหมู่บ้านต่างๆเป็น 14 แคว้น พ.ศ.2447 กิ่งแขวงเมืองเทิง ได้โอนจากบริเวณน่านเหนือ
มาขึ้นกับเมืองเชียงราย โดยมีพระยาพิศาลคีรีเมฆ เป็นผู้ปกครองกิ่งแขวงเมืองเทิง
พ.ศ. 2457 ได้ยกฐานะเป็นอำเภอเทิง ขึ้นต่อจังหวัดเชียงราย มีนายอำเภอคนแรก
ชื่อ"ขุนวัฒนานุการ (รองอำมาตย์โทโป๊ะ วัฒนะสมบัติ) นับแต่ พ.ศ.
2457 เรื่อยมา จนถึง พ.ศ. 2548 อำเภอเทิงมีนายอำเภอทั้งหมด 34 คน โดยนายนิมิต
วันไชยธนวงศ์ เป็นนายอำเภอตั้งแต่ ต.ค.2546จนถึง ปัจจุบัน
|
พื้นที่ / ลักษณะภูมิอากาศ |
เนื้อที่ / พื้นที่ |
795.5 |
ตร.กม. |
สภาพภูมิอากาศ |
ภูมิอากาศแบบมรสุม 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว |
|
|
|
การปกครอง |
หมู่บ้าน |
152 |
หมู่บ้าน |
ตำบล |
10 |
ตำบล |
เทศบาล |
2 |
แห่ง |
องค์การบริหารส่วนตำบล |
10 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
อาชีพ |
อาชีพหลัก |
การเกษตร - พื้นที่ 244,498 ไร่ ทำนา ปลูกพืชไร่
ปลูกพืชสวน พืชอื่นๆ เลี้ยงสัตว์ - ไก่พื้นเมือง เป็ดไข่ เป็ดเทศ
ไก่ชนรวม โคเนื้อพื้นเมืองโคพันธุ์ โคเนื้อ สุกร กระบือ |
อาชีพรอง |
เลี้ยงกุ้งก้ามกราม ทอผ้า จักรสาน แปรรูปอาหาร |
|
|
|
การศึกษา |
โรงเรียนประถม |
|
โรง |
โรงเรียนมัธยม |
2 |
โรง |
วิทยาลัย / มหาวิทยาลัย |
2 |
แห่ง |
|
|
|
|
ศาสนา |
วัด |
|
แห่ง |
โบสถ์ |
|
แห่ง |
มัสยิด / สุเหร่า |
|
แห่ง |
|
|
|
|
ประชากร |
จำนวนประชากรชาย |
42,227 |
คน |
จำนวนประชากรหญิง |
42,307 |
คน |
รวม |
84,534 |
คน |
ความหนาแน่น |
106 |
คน/ตร.กม. |
|
|
|
|
การเกษตรและอุตสาหกรรม
|
ผลผลิตทางการเกษตร |
ข้าว,ข้าวโพด,ส้มโอ,ลิ้นจี่,ส้มเขียวหวาน,มะม่วง,มะขาม,กล้วยน้ำว้า |
แหล่งน้ำสำคัญ |
แม่น้ำอิง,แม่น้ำลาว,แม่น้ำหงาว |
โรงงานอุตสาหกรรม |
โรงงานทำเส้นก๋วยเตี๋ยว บ้านร่องริว ม.12 ต.เวียง อำเภอเทิง
จังหวัดเชียงราย,โรงบ่มใบยา ต.หงาว อำเภอเทิง จังหวัด เชียงราย
|
|